Matichon(มติชน) หนังสือ ทหารของพระราชา กับ การสร้างสำนึกความศรัทธาและภักดี
ก่อร่างกษัตริย์นิยมในกองทัพไทย พ.ศ. ๒๔๑๑-๒๕๐๐
อ่านความหมายและความสำคัญของพิธีกรรมและพระราชกรณียกิจทางทหารของพระมหากษัตริย์หลังการปฏิรูปประเทศให้เป็นสมัยใหม่ พิจารณาลงไปในการก่อร่างสร้างความจงรัก-รอยร้าวในความภักดี ย้อนสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันพระมหากษัตริย์กับกองทัพไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจนถึง พ.ศ. ๒๕๐๐
1 บทนำ
1.1 พระมหากษัตริย์กับพิธีกรรมและกิจกรรมทางทหาร
1.2 พระมหากษัตริย์ในฐานะจอมทัพของชาติ
2 ก่อร่างความจงรัก
2.1 ระบบชนชั้นกับความไม่มั่นคงในราชบัลลังก์
2.2 โรงเรียนนายร้อย
2.3 ตราพระราชบัญญัติเกณฑ์ทหาร รัตนโกสินทรศก ๑๒๔
2.4 พิธีกรรมทางทหารกับการสร้างสำนึกแห่งความจงรักภักดี
2.5 ธงชัยเฉลิมพล
2.6 งานรื่นเริงประจำปี
2.7 พิธีทูลเกล้าฯ ถวายพระคทาจอมพลแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
3 รอยร้าวในความภักดี
3.1 ช่วงเวลาอันยากลำบากของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวในกองทัพ
3.2 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับบทบาทจอมทัพของชาติ
3.3 พิธีกรรมและความเชื่อกับการส่งเสริมภาพลักษณ์ทางทหาร
4 เมื่อโมงยามไม่อาจผันแปร
4.1 ราชบัลลังก์ที่เป็นภาระ
4.2 กองทัพของพระราชา
4.3 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสถานะจอมทัพของชาติ
4.4 พิธีกรรมทางทหารกับการปลูกฝังความจงรักภักดี
5 ใต้ฟ้าที่พลิกผัน
5.1 จอมพล ป. พิบูลสงครามกับนโยบายต่อต้านสถาบันพระมหากษัตริย์
5.2 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภากับคณะราษฎร
5.3 จอมพล ป. พิบูลสงครามกับนโยบายทางทหาร
5.4 จอมพล ป. พิบูลสงครามกับพิธีกรรมทางทหาร
6 อำนาจที่สั่นคลอน
6.1 สมัยที่ ๒ ของจอมพล ป. พิบูลสงครามในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
6.2 พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ในฐานะตัวกลางของราชสำนักกับรัฐบาล
6.3 จอมพล ป. พิบูลสงครามกับการฟื้นฟูบทบาททางการเมืองของพระมหากษัตริย์
6.4 การแสวงหาการสนับสนุนจากโลกตะวันตก
6.5 แผนการเสด็จฯ เยือนต่างประเทศ
ISBN : 9789740217756
ปกหนังสือ : อ่อน
กระดาษ : กรีนรีด
จำนวนหน้า : 352 หน้า
น้ำหนัก : 565.00 กรัม
กว้าง 16.50 ซม.สูง24.00 ซม.หนา1.50 ซม.
พิมพ์ครั้งที่ : พิมพ์ครั้งที่ 2 : เมษายน 2565
สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มติชน